top of page
13 มี.ค.68 ใหม่ ดาวิกา ไม่พลาด ร่วมชม รอบพิเศษ แอนิเมชั่นจีน"นาจา2"  ทำรายได้สูงสุดในประวัติศาสตร์
03:12

13 มี.ค.68 ใหม่ ดาวิกา ไม่พลาด ร่วมชม รอบพิเศษ แอนิเมชั่นจีน"นาจา2" ทำรายได้สูงสุดในประวัติศาสตร์

เฉลิมฉลองความสัมพันธ์ไทย-จีน 50 ปี เชิญชวนชาวจีนในไทยชม “นาจา 2” ร่วมกันทำลายสถิติภาพยนตร์จีนที่สร้างยอดขายสูงสุดของโลก เนื่องในโอกาสสำคัญของการเฉลิมฉลองครบรอบ 50 ปี แห่งความสัมพันธ์ทางการทูตไทย-จีน เพื่อส่งเสริมมิตรภาพอันลึกซึ้ง และการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างสองประเทศ บริษัทไทยเจียระไน กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) , สำนักข่าว Thailand Headlines (ไท่กั๋ว โถวเถียว) และ นิตยสาร ManGu Magazine ได้ร่วมกันจัดกิจกรรมพิเศษเชิญชวนชาวจีนในไทยเข้าร่วมชมภาพยนตร์ “นาจา 2” รอบพิเศษในไทย และร่วมกันเป็นส่วนหนึ่งในการทำลายสถิติโลก โดยมีแขกผู้มีเกียรติชาวจีนที่อาศัยอยู่ในไทย นักธุรกิจจีน-ไทย และผู้ที่สนใจเข้าร่วมงานกว่า 3,000 คน นับเป็นการจัดงานชมภาพยนตร์รอบพิเศษที่ใหญ่ที่สุดในไทย ภาพยนตร์แอนิเมชัน “นาจา 2 (哪吒之魔童降世 II)” เรื่องนี้ได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางและประสบความสำเร็จทั้งในแง่ของรายได้และเสียงตอบรับจากผู้ชม จนกลายเป็นหนึ่งในภาพยนตร์แอนิเมชันที่ทำรายได้สูงสุดในประวัติศาสตร์ของจีน และยังขึ้นแท่นเป็นภาพยนตร์แอนิเมชันที่ทำรายได้สูงสุดในโลก แซงหน้า “Inside Out 2” ของ Pixar ซึ่งสะท้อนถึงศักยภาพอันยอดเยี่ยมในการนำเสนอวัฒนธรรมและตำนานจากฝั่งตะวันออก นอกจากนี้ยังได้รับคำวิจารณ์ในแง่บวกอย่างมากจากการเล่าเรื่องที่ลึกซึ้งและซับซ้อน ที่สามารถดึงดูดใจทั้งผู้ใหญ่และเด็กได้อย่างลงตัว ทำให้มันกลายเป็นผลงานที่สมบูรณ์แบบและข้ามพรมแดนวัฒนธรรมได้อย่างแท้จริง โดยมีรายได้รวมทั่วโลกกว่า 14,500 ล้านหยวน (ประมาณ 72,500 ล้านบาท) และได้รับความนิยมในกว่า 50 ประเทศ พร้อมสร้างกระแสบนโซเชียลมีเดียกว่า 100,000 ล้านวิว นอกจากนี้ยังติดอันดับ 7 ในสถิติประวัติศาสตร์บ็อกซ์ออฟฟิศทั่วโลกอีกด้วย กิจกรรมพิเศษจะจัดขึ้นในวันที่ 13 มีนาคม 2025 ณ โรงภาพยนตร์เอส เอฟ เวิลด์ ซีเนม่า เซ็นทรัลเวิลด์ โดยสำนักข่าว Thailand Headlines (ไท่กั๋ว โถวเถียว) มอบบัตรฟรีให้กับแฟนคลับชาวจีนในไทย เพื่อเป็นโอกาสในการพบปะกัน ร่วมกันเขียนข้อความพิเศษ และร่วมสร้างสถิติโลกใหม่ โดยงานนี้จะทำลายสถิติการชมภาพยนตร์รอบพิเศษที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ด้วยการเหมาโรงภาพยนตร์จากเซ็นทรัลเวิลด์ถึง 8 โรง กิจกรรมนี้จะเป็นการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างไทยและจีน โดยมีบุคคลสำคัญจากทั้งสองประเทศ รวมถึงนักธุรกิจไทย-จีน กว่า 2,000 คน นอกจากนี้ยังมีดารา ศิลปิน และอินฟลูเอนเซอร์จากไทยมาร่วมเพิ่มสีสันและความบันเทิงให้กับงาน พร้อมทั้งมีคอสเพลย์และการถ่ายรูปที่ระลึกให้ทุกคนได้สนุกสนานและสร้างความทรงจำร่วมกัน สำหรับการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ ได้รับการสนับสนุนอย่างดียิ่งจากบริษัท บีวายดี ออโต้ (ไทยแลนด์ ) จำกัด, CQK, CHJ JEWELLERY (潮宏基), Oppein Home Gr (欧派家居), Singapore International School Bangkok (sisb新加坡国际学校), HARVELAND Group 恒和房地产, บริษัท เหย่าหยี่ กรุ๊ป จำกัด, Jin Xin Tai Jewelry 金興泰 珠宝品牌, Lukfook Jewelry 六福珠宝, บริษัท เบอร์แทรม (1958) จำกัด 上标油, Bangkok Star และ SF Cinema บริษัท เอส เอฟ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ที่ร่วมทำให้กิจกรรมในครั้งนี้ประสบความสำเร็จด้วยดี #泰国头条新闻X哪吒2 #ThailandHeadlinesXNeZha2TH #ไท่กั๋วโถวเถียวXนาจา2
13 มี.ค.68 "กินยาสมเหตุ หายโรคสมผล ทุกคนสมใจ"ห่างไกลโรคไตแน่นอน
06:17

13 มี.ค.68 "กินยาสมเหตุ หายโรคสมผล ทุกคนสมใจ"ห่างไกลโรคไตแน่นอน

สสส. ร่วมกับ จุฬาฯ ร่วมรณรงค์ World Kidney Day สร้างการรับรู้ควบคู่การดูแล เร่งสื่อสารการใช้ยาเพื่อลดความเสี่ยงโรคไต ... ดร.นพ. ไพโรจน์ เสาน่วม รองผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส. กล่าวว่า.. องค์การอนามัยโลก ได้กำหนดให้วันพฤหัสบดีในสัปดาห์ที่สองของเดือนมีนาคมของทุกปีเป็นวันไตโลก จากรายงานภาวะสังคมไตรมาสที่ 3/2567 ของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ระบุว่า คนไทยป่วยเป็นโรคไตเรื้อรังเพิ่มขึ้นจาก 9.8 แสนคน ในปี 2565 เป็น 1.13 ล้านคน ในปี 2567 และสถานการณ์โรคไตเรื้อรังปี 2534 – 2564 มีการสูญเสียปีสุขภาวะหรือความสูญเสียด้านสุขภาพเร็วขึ้น 3.14 เท่า รองลงมาคือมะเร็ง 2 เท่า หลอดเลือดหัวใจ 1.8 เท่า สาเหตุเกิดจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้องโดยเฉพาะอาหารรสเค็ม และการบริโภคยาที่ไม่ถูกต้องและเกินความจำเป็น การเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และการสูบบุหรี่ ขณะที่ข้อมูลการสำรวจความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในบุคลากรด้านสาธารณสุขและประชาชน ใน 13 เขตสุขภาพ ปี 2567 ของกระทรวงสาธารณสุข พบว่า ประชาชนมีระดับความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผล 64.9% “ สสส. มุ่งส่งเสริมมาตรการเพื่อป้องกันประเด็นที่เกี่ยวกับโรคไต โดยมีแผนอาหารลดเค็ม ลดโรคขับเคลื่อนนโยบายลดโซเดียมให้คนไทยลดบริโภคเค็ม แผนงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพและการพัฒนาระบบยา ขับเคลื่อนนโยบายและมาตรการที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมงานวิชาการ งานวิจัย และสร้างความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายในการคุ้มครองผู้บริโภคจากการใช้ยาอันตราย รวมถึงการสื่อสารรณรงค์ผ่านเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้บริโภค ป้องกันการถูกหลอกลวงเรื่องการใช้ยา ซึ่งการพัฒนาการสื่อสารเรื่องการใช้ยาเพื่อลดความเสี่ยงโรคไต เพื่อให้คนตระหนักและมีความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยาในชีวิตประจำวัน เพราะกลุ่มยาแก้อักเสบ หรือ NSAIDs ยาชุด ยาสมุนไพรบางชนิด อาจมีฤทธิ์หรือคุณสมบัติบางอย่างทำให้ไตทำงานได้ลดลง ซึ่งหากประชาชนทั่วไปหาซื้อและนำมาใช้ด้วยตนเอง โดยขาดความรู้หรือความระมัดระวัง และไม่ได้ปรึกษาแพทย์ก็จะส่งผลเสียต่อไตได้ ” ดร.นพ. ไพโรจน์ กล่าว ดร.วรรษยุต คงจันทร์ รองคณบดีด้านบริการวิชาการและเชื่อมโยงสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า.. ผลการวิจัยพฤติกรรม ทัศนคติ และการเปิดรับสื่อเกี่ยวกับการบริโภคยากลุ่ม NSAIDs สมุนไพร และอาหารเสริมของกลุ่มพนักงานออฟฟิศ และผู้ใช้แรงงานโดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1.รุ่นอายุ 44-59 ปี หรือเจเนอเรชันเอ็กซ์ กลุ่มผู้ใช้แรงงานส่วนใหญ่มีโรคประจำตัว เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน และใช้ยาตามแพทย์สั่งเป็นประจำ มักซื้อยาจากร้านขายยาเองเพื่อประหยัดเวลารวมถึงการใช้สมุนไพรเสริม มีพฤติกรรมการใช้ยาชุดตั้งแต่วัยรุ่น แม้จะตระหนักถึงความเสี่ยง กลุ่มพนักงานออฟฟิศมีโรคประจำตัวคล้ายกับกลุ่มแรงงาน แต่ไปพบแพทย์และใช้ยาตามแพทย์สั่งมากกว่า ใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารมากกว่ากลุ่มผู้ใช้แรงงาน และไม่ใช้ยาชุดเนื่องจากเข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพมากกว่า ส่วนการเปิดรับสื่อทั้งสองกลุ่มเน้นรับข้อมูลผ่านสื่อบุคคล เช่น ครอบครัวหรือเพื่อนใกล้ชิด ผศ. ดร.ธีรดา จงกลรัตนาภรณ์ หัวหน้าภาคประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์และหัวหน้าโครงการ เสริมจากผลวิจัยต่อว่า.. 2. รุ่นอายุ 28-43 ปี หรือเจเนอเรชันวาย กลุ่มผู้ใช้แรงงานเริ่มมีโรคประจำตัว เช่น อาการปวดกล้ามเนื้อ ทำให้ใช้ยากลุ่ม NSAIDs เป็นประจำ และใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและสมุนไพรตามคำแนะนำจากคนใกล้ชิด กลุ่มพนักงานออฟฟิศมีการดูแลสุขภาพมากขึ้น ใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารโดยการปรึกษาแพทย์ ด้านทัศนคติเกี่ยวกับสุขภาพ ทั้งสองกลุ่มมีความกังวลเกี่ยวกับผลกระทบของการใช้ยาและสมุนไพรที่มีผลต่อไต แต่ยังใช้ยาและอาหารเสริมตามคำแนะนำจากแพทย์หรือหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต ส่วนการเปิดรับสื่อกลุ่มนี้นิยมสื่อออนไลน์ เช่น TikTok Facebook โดยเฉพาะวิดีโอสั้นจากบุคลากรทางการแพทย์ หรืออินฟลูเอนเซอร์สายสุขภาพ “ 3. รุ่นอายุ 19-27 ปี หรือเจเนอเรชันแซด กลุ่มผู้ใช้แรงงานยังไม่ค่อยมีโรคประจำตัว เน้นการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่เกี่ยวกับผิวพรรณและรูปร่าง โดยได้รับข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตหรือคำแนะนำจากเพื่อน กลุ่มพนักงานออฟฟิศคล้ายกับกลุ่มผู้ใช้แรงงาน ในเรื่องการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร แต่จะไปพบแพทย์เมื่อมีอาการหนักขึ้น ด้านทัศนคติเกี่ยวกับสุขภาพ ครอบครัวและคนใกล้ชิดมีผลต่อการตัดสินใจ โดยกลุ่มนี้มีความระมัดระวังในการใช้ยากลุ่ม NSAIDs ส่วนการเปิดรับสื่อจะเน้นการรับสื่อออนไลน์ เช่น TikTok โดยเชื่อถือข้อมูลจากแพทย์หรืออินฟลูเอนเซอร์ที่มีความน่าเชื่อถือในการให้ข้อมูลด้านสุขภาพ จากข้อมูลดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่าการสร้างการตระหนักรู้พร้อมกับการส่งเสริมความรู้ ให้เข้าถึงกลุ่มคนทุกรุ่นเป็นเรื่องที่สำคัญ ซึ่งถือเป็นการส่งเสริมสุขภาวะคนในประเทศให้มีสุขภาพที่ดี และลดค่าใช้จ่ายของประเทศ หากประชาชนทั่วไปต้องการสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ยาที่ถูกต้องสามารถสอบถามข้อมูลได้ที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) สายด่วน 1556 ” ผศ. ดร.ธีรดา กล่าว นอกจากนี้ ผศ. ภญ. ดร.นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี ผู้จัดการศูนย์วิชาการเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.) ยังได้ร่วมแบ่งบันความรู้เกี่ยวกับ สถานการณ์ปัจจุบันของภาวะผู้ป่วยโรคไต และสาเหตุหลักของโรคไตในปัจจุบัน รวมถึง ผลกระทบของการใช้ยาโดยไม่ปรึกษาเภสัชกร พร้อมทั้งแนะนำแนวทางการจ่ายยาให้ปลอดภัยต่อไต ทั้งนี้ยังมีการแบ่งบันประสบการณ์ตรงจากคุณคริสโตเฟอร์ ไรท์ ครูสอนภาษาอังกฤษรายการ Click ช่อง Mahidol Channel นักพูด และวิทยากรชื่อดัง ได้เล่าประสบการณ์ตรงจากใจผู้บริโภคและคุณพ่อที่ต้องระมัดระวังเรื่องการใช้ยาให้กับลูกชายที่มีปัญหาจากโรคไต
13 มี.ค.68 "คริสโตเฟอร์ ไรท์" ผู้มีบุตรที่มีปัญหาเกี่ยวกับไต เลี้ยงลูกอย่างไร?
09:16

13 มี.ค.68 "คริสโตเฟอร์ ไรท์" ผู้มีบุตรที่มีปัญหาเกี่ยวกับไต เลี้ยงลูกอย่างไร?

สสส. ร่วมกับ จุฬาฯ ร่วมรณรงค์ World Kidney Day สร้างการรับรู้ควบคู่การดูแล เร่งสื่อสารการใช้ยาเพื่อลดความเสี่ยงโรคไต ... ดร.นพ. ไพโรจน์ เสาน่วม รองผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส. กล่าวว่า.. องค์การอนามัยโลก ได้กำหนดให้วันพฤหัสบดีในสัปดาห์ที่สองของเดือนมีนาคมของทุกปีเป็นวันไตโลก จากรายงานภาวะสังคมไตรมาสที่ 3/2567 ของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ระบุว่า คนไทยป่วยเป็นโรคไตเรื้อรังเพิ่มขึ้นจาก 9.8 แสนคน ในปี 2565 เป็น 1.13 ล้านคน ในปี 2567 และสถานการณ์โรคไตเรื้อรังปี 2534 – 2564 มีการสูญเสียปีสุขภาวะหรือความสูญเสียด้านสุขภาพเร็วขึ้น 3.14 เท่า รองลงมาคือมะเร็ง 2 เท่า หลอดเลือดหัวใจ 1.8 เท่า สาเหตุเกิดจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้องโดยเฉพาะอาหารรสเค็ม และการบริโภคยาที่ไม่ถูกต้องและเกินความจำเป็น การเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และการสูบบุหรี่ ขณะที่ข้อมูลการสำรวจความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในบุคลากรด้านสาธารณสุขและประชาชน ใน 13 เขตสุขภาพ ปี 2567 ของกระทรวงสาธารณสุข พบว่า ประชาชนมีระดับความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผล 64.9% “ สสส. มุ่งส่งเสริมมาตรการเพื่อป้องกันประเด็นที่เกี่ยวกับโรคไต โดยมีแผนอาหารลดเค็ม ลดโรคขับเคลื่อนนโยบายลดโซเดียมให้คนไทยลดบริโภคเค็ม แผนงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพและการพัฒนาระบบยา ขับเคลื่อนนโยบายและมาตรการที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมงานวิชาการ งานวิจัย และสร้างความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายในการคุ้มครองผู้บริโภคจากการใช้ยาอันตราย รวมถึงการสื่อสารรณรงค์ผ่านเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้บริโภค ป้องกันการถูกหลอกลวงเรื่องการใช้ยา ซึ่งการพัฒนาการสื่อสารเรื่องการใช้ยาเพื่อลดความเสี่ยงโรคไต เพื่อให้คนตระหนักและมีความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยาในชีวิตประจำวัน เพราะกลุ่มยาแก้อักเสบ หรือ NSAIDs ยาชุด ยาสมุนไพรบางชนิด อาจมีฤทธิ์หรือคุณสมบัติบางอย่างทำให้ไตทำงานได้ลดลง ซึ่งหากประชาชนทั่วไปหาซื้อและนำมาใช้ด้วยตนเอง โดยขาดความรู้หรือความระมัดระวัง และไม่ได้ปรึกษาแพทย์ก็จะส่งผลเสียต่อไตได้ ” ดร.นพ. ไพโรจน์ กล่าว ดร.วรรษยุต คงจันทร์ รองคณบดีด้านบริการวิชาการและเชื่อมโยงสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า.. ผลการวิจัยพฤติกรรม ทัศนคติ และการเปิดรับสื่อเกี่ยวกับการบริโภคยากลุ่ม NSAIDs สมุนไพร และอาหารเสริมของกลุ่มพนักงานออฟฟิศ และผู้ใช้แรงงานโดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1.รุ่นอายุ 44-59 ปี หรือเจเนอเรชันเอ็กซ์ กลุ่มผู้ใช้แรงงานส่วนใหญ่มีโรคประจำตัว เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน และใช้ยาตามแพทย์สั่งเป็นประจำ มักซื้อยาจากร้านขายยาเองเพื่อประหยัดเวลารวมถึงการใช้สมุนไพรเสริม มีพฤติกรรมการใช้ยาชุดตั้งแต่วัยรุ่น แม้จะตระหนักถึงความเสี่ยง กลุ่มพนักงานออฟฟิศมีโรคประจำตัวคล้ายกับกลุ่มแรงงาน แต่ไปพบแพทย์และใช้ยาตามแพทย์สั่งมากกว่า ใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารมากกว่ากลุ่มผู้ใช้แรงงาน และไม่ใช้ยาชุดเนื่องจากเข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพมากกว่า ส่วนการเปิดรับสื่อทั้งสองกลุ่มเน้นรับข้อมูลผ่านสื่อบุคคล เช่น ครอบครัวหรือเพื่อนใกล้ชิด ผศ. ดร.ธีรดา จงกลรัตนาภรณ์ หัวหน้าภาคประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์และหัวหน้าโครงการ เสริมจากผลวิจัยต่อว่า.. 2. รุ่นอายุ 28-43 ปี หรือเจเนอเรชันวาย กลุ่มผู้ใช้แรงงานเริ่มมีโรคประจำตัว เช่น อาการปวดกล้ามเนื้อ ทำให้ใช้ยากลุ่ม NSAIDs เป็นประจำ และใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและสมุนไพรตามคำแนะนำจากคนใกล้ชิด กลุ่มพนักงานออฟฟิศมีการดูแลสุขภาพมากขึ้น ใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารโดยการปรึกษาแพทย์ ด้านทัศนคติเกี่ยวกับสุขภาพ ทั้งสองกลุ่มมีความกังวลเกี่ยวกับผลกระทบของการใช้ยาและสมุนไพรที่มีผลต่อไต แต่ยังใช้ยาและอาหารเสริมตามคำแนะนำจากแพทย์หรือหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต ส่วนการเปิดรับสื่อกลุ่มนี้นิยมสื่อออนไลน์ เช่น TikTok Facebook โดยเฉพาะวิดีโอสั้นจากบุคลากรทางการแพทย์ หรืออินฟลูเอนเซอร์สายสุขภาพ “ 3. รุ่นอายุ 19-27 ปี หรือเจเนอเรชันแซด กลุ่มผู้ใช้แรงงานยังไม่ค่อยมีโรคประจำตัว เน้นการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่เกี่ยวกับผิวพรรณและรูปร่าง โดยได้รับข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตหรือคำแนะนำจากเพื่อน กลุ่มพนักงานออฟฟิศคล้ายกับกลุ่มผู้ใช้แรงงาน ในเรื่องการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร แต่จะไปพบแพทย์เมื่อมีอาการหนักขึ้น ด้านทัศนคติเกี่ยวกับสุขภาพ ครอบครัวและคนใกล้ชิดมีผลต่อการตัดสินใจ โดยกลุ่มนี้มีความระมัดระวังในการใช้ยากลุ่ม NSAIDs ส่วนการเปิดรับสื่อจะเน้นการรับสื่อออนไลน์ เช่น TikTok โดยเชื่อถือข้อมูลจากแพทย์หรืออินฟลูเอนเซอร์ที่มีความน่าเชื่อถือในการให้ข้อมูลด้านสุขภาพ จากข้อมูลดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่าการสร้างการตระหนักรู้พร้อมกับการส่งเสริมความรู้ ให้เข้าถึงกลุ่มคนทุกรุ่นเป็นเรื่องที่สำคัญ ซึ่งถือเป็นการส่งเสริมสุขภาวะคนในประเทศให้มีสุขภาพที่ดี และลดค่าใช้จ่ายของประเทศ หากประชาชนทั่วไปต้องการสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ยาที่ถูกต้องสามารถสอบถามข้อมูลได้ที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) สายด่วน 1556 ” ผศ. ดร.ธีรดา กล่าว นอกจากนี้ ผศ. ภญ. ดร.นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี ผู้จัดการศูนย์วิชาการเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.) ยังได้ร่วมแบ่งบันความรู้เกี่ยวกับ สถานการณ์ปัจจุบันของภาวะผู้ป่วยโรคไต และสาเหตุหลักของโรคไตในปัจจุบัน รวมถึง ผลกระทบของการใช้ยาโดยไม่ปรึกษาเภสัชกร พร้อมทั้งแนะนำแนวทางการจ่ายยาให้ปลอดภัยต่อไต ทั้งนี้ยังมีการแบ่งบันประสบการณ์ตรงจากคุณคริสโตเฟอร์ ไรท์ ครูสอนภาษาอังกฤษรายการ Click ช่อง Mahidol Channel นักพูด และวิทยากรชื่อดัง ได้เล่าประสบการณ์ตรงจากใจผู้บริโภคและคุณพ่อที่ต้องระมัดระวังเรื่องการใช้ยาให้กับลูกชายที่มีปัญหาจากโรคไต
26 ก.พ.68 สาธิตการใช้งานLine OA กรมวิชาการเกษตร
04:30

26 ก.พ.68 สาธิตการใช้งานLine OA กรมวิชาการเกษตร

“กรมวิชาการเกษตร” เปิดตัว “AI Chatbot” ตัวช่วยอัจฉริยะ พลิกโฉมการเกษตรไทย ให้เข้าถึงข้อมูลความรู้งานวิจัย ทุเรียน-มันสำปะหลัง หนุนสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ กว่าแสนล้านบาทต่อปี ต่อชนิด กรุงเทพฯ, 26 ก.พ. 68 : นายรพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดงาน “ก้าวสู่อนาคตเกษตรกรรมไทย ผ่านงานวิจัยด้วย AI Chatbot” ณ ห้องพระศิวะ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ คอนเวนชั่น พลิกโฉมการเกษตรไทย เปิดตัวนวัตกรรม AI Chatbot “ตัวช่วยอัจฉริยะ” ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลและความรู้ที่จำเป็นเกี่ยวกับการปลูกทุเรียนและมันสำปะหลังได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง และแม่นยำ ผ่านเครื่องมือสืบค้นงานวิจัยด้านการผลิตพืชของกรมวิชาการเกษตร ที่รวบรวมความรู้ งานวิจัย เกี่ยวกับทุเรียน และมันสำปะหลัง ไว้อย่างครบถ้วน ให้เกษตรกรและผู้ที่สนใจได้เรียนรู้ และนำไปใช้เพื่อเพิ่มผลผลิต และสร้างรายได้ จากสองชนิดพืชเศรษฐกิจอันดับต้นของประเทศ ที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจปีละกว่าหนึ่งแสนล้านบาทในแต่ละชนิด นายรพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ เปิดเผยว่า ในยุคที่โลกกำลังเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และเข้าสู่สังคมยุคดิจิทัล กรมวิชาการเกษตรพร้อมที่จะสนับสนุนบทบาทการนำดิจิทัลไปสู่งานวิจัย โดยกรมวิชาการเกษตรมีบทบาทสำคัญในเรื่องการวิจัยสินค้าเกษตรพืชพันธุ์ต่างๆ ซึ่งการนำเทคโนโลยี AI เข้ามาสนับสนุน ประกอบกับแผนการจัดการเทคโนโลยีของประเทศไทย ได้ระบุชัดเจนว่า ในสังคมยุคสมัยที่เปลี่ยนไป เราจะต้องติดอาวุธทางปัญญาให้กับเกษตรกรไทย ด้วยพลังของงานวิจัย ที่ใช้ระบบ AI เป็นตัวขับเคลื่อนสำคัญ นายรพีภัทร์ กล่าวต่อไปว่า กรมวิชาการเกษตร ได้เตรียมจัดทำฐานข้อมูล โดยเฉพาะเรื่องของพืชเกษตรทุเรียนและมันสำปะหลัง ผ่านระบบ AI chatbot “อยากเชิญชวนพี่น้องเกษตรกร และประชาชนผู้สนใจ ได้เข้ามารับรู้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ โดยสามารถนำเทคโนโลยีด้านการเกษตรที่มีความแม่นยำ ถูกต้อง ซึ่งผ่านการค้นคว้าวิจัยโดยกรมวิชาการเกษตรมาเป็นเวลานาน ได้นำมาถ่ายทอดให้ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อรับฟังข้อมูลต่างๆ ทั้งในเชิงศึกษาหาความรู้ และเพื่อการวางแผนการผลิตสินค้าพืชที่สำคัญ โดยเฉพาะทุเรียนและมันสำปะหลัง ถือว่าเป็นพืชเศรษฐกิจอันดับต้นๆ ของประเทศไทย ซึ่งทั้ง 2 ชนิดพืชนี้ สามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจในแต่ละปี มากกว่าหนึ่งแสนล้านบาทในแต่ละชนิด ดังนั้น ถึงเวลาแล้วที่เราจะต้องใช้เทคโนโลยีที่แม่นยำ เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารที่ใช้งานง่าย ให้พี่น้องเกษตรกร และประชาชนสามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลาผ่าน AI Chatbot ของกรมวิชาการเกษตร” ทั้งนี้ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาประเทศไทยมีการผลิตและส่งออกทุเรียนและมันสำปะหลัง มูลค่า มากกว่าแสนล้านบาทต่อปี ต่อชนิด นับเป็นพืชที่มีบทบาทสำคัญในภาคการเกษตร ทั้งในแง่ของการสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรและเป็นสินค้าส่งออก แต่เกษตรกรยังต้องเผชิญกับความท้าทายในหลายด้าน เช่น โรค แมลง และจัดการปุ๋ย ทำให้ผลผลิตคุณภาพตกต่ำ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีภารกิจหลักเกี่ยวกับพืช ศึกษา วิจัย และพัฒนาพืช เครื่องจักรกลการเกษตร และปัจจัยการผลิต ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต บริการวิเคราะห์ ทดสอบ ตรวจสอบ รับรองมาตรฐานสินค้าพืช ให้คำปรึกษา เกี่ยวกับ ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช วัสดุการเกษตร ผลผลิต และผลิตภัณฑ์พืช เพื่อยกระดับมาตรฐานการผลิตพืชเพื่อพัฒนาผลผลิตพืช ให้มีคุณภาพและปลอดภัยต่อผู้บริโภค ตามมาตรฐานสากล และเพื่อให้บริการการส่งออกสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน ซึ่งมีองค์ความรู้ด้านการ ผลิตมันสำปะหลัง และทุเรียน ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ในการพัฒนาเชิงรุก จึงต้องเผยแพร่ความรู้ รวมถึงส่งเสริมระบบเกษตรอัจฉริยะ (Smart Farming) ส่งเสริมการเกษตรที่ยั่งยืน โดยนำเทคโนโลยีมาเป็นตัวช่วยพัฒนาเครื่องมือประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ผลงานวิจัยของกรมวิชการเกษตรผ่านสื่อดิจิทัล ที่ช่วยในการเข้าถึงข้อมูลงานวิจัย เพื่อสนับสนุนการแก้ปัญหาทางการเกษตรที่เกี่ยวข้องกับทุเรียนและมันสำปะหลัง โดยเน้นการนำเสนอเนื้อหาที่เข้าใจง่ายและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง ผ่านแพลตฟอร์ม LINE Official Account (LINE OA) เป็นช่องทางหลักในการเผยแพร่ข้อมูล รองรับการตอบคำถาม อธิบายข้อมูล และสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้งาน สามารถเข้าถึงบริการได้ด้วยการสแกน QR Code หรือเพิ่มเพื่อนผ่าน Line OA สามารถใช้สร้างชุมชนออนไลน์ (Community) หรือประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสาร และประกาศต่างๆ (Broadcast) นอกจากนี้ ยังนำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ AI Chatbot เข้ามาใช้งานร่วมกับแพลตฟอร์ม LINE Official Account (LINE OA) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการตอบคำถามและให้ข้อมูลเนื้อหาจากงานวิจัย พร้อมสามารถทำหน้าที่ตอบคำถามเชิงลึก อธิบายข้อมูลที่ซับซ้อน และให้คำแนะนำที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้งาน เช่น การวิเคราะห์ ภาพพืช ผลผลิต หรือปัญหาทางการเกษตร สามารถประมวลผลและแสดงผลการวิเคราะห์ที่แม่นยำและรวดเร็ว พร้อมแปลข้อมูลที่ได้ให้อยู่ในรูปแบบที่เข้าใจง่าย เช่น การบ่งชี้พันธุ์ของพืช อาการผิดปกติที่เกิดขึ้น หรือคำแนะนำเบื้องต้นที่เหมาะสมสำหรับการแก้ไขปัญหา ให้ได้รับคำตอบอย่างรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ ผ่านช่องทางการนำเสนอการเล่าเรื่อง ทุเรียน โดย Mascot น้องหนาม ส่วน มันสำปะหลัง เล่าเรื่องโดย Mascot น้องมันมัน ทั้งนี้ แพลตฟอร์ม LINE Official Account (LINE OA) และ AI Chatbot ของกรมวิชาการเกษตร เตรียมเปิดทดลองระบบการให้บริการ ตั้งแต่วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2568 เป็นต้นไป
26 ก.พ.68 "กรมวิชาการเกษตร เปิดตัว LINE OA AI Chat bot ตอบทุกปัญหาเกษตร 24 ชม. พร้อมใช้แล้ววันนี้
03:57

26 ก.พ.68 "กรมวิชาการเกษตร เปิดตัว LINE OA AI Chat bot ตอบทุกปัญหาเกษตร 24 ชม. พร้อมใช้แล้ววันนี้

“กรมวิชาการเกษตร” เปิดตัว “AI Chatbot” ตัวช่วยอัจฉริยะ พลิกโฉมการเกษตรไทย ให้เข้าถึงข้อมูลความรู้งานวิจัย ทุเรียน-มันสำปะหลัง หนุนสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ กว่าแสนล้านบาทต่อปี ต่อชนิด กรุงเทพฯ, 26 ก.พ. 68 : นายรพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดงาน “ก้าวสู่อนาคตเกษตรกรรมไทย ผ่านงานวิจัยด้วย AI Chatbot” ณ ห้องพระศิวะ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ คอนเวนชั่น พลิกโฉมการเกษตรไทย เปิดตัวนวัตกรรม AI Chatbot “ตัวช่วยอัจฉริยะ” ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลและความรู้ที่จำเป็นเกี่ยวกับการปลูกทุเรียนและมันสำปะหลังได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง และแม่นยำ ผ่านเครื่องมือสืบค้นงานวิจัยด้านการผลิตพืชของกรมวิชาการเกษตร ที่รวบรวมความรู้ งานวิจัย เกี่ยวกับทุเรียน และมันสำปะหลัง ไว้อย่างครบถ้วน ให้เกษตรกรและผู้ที่สนใจได้เรียนรู้ และนำไปใช้เพื่อเพิ่มผลผลิต และสร้างรายได้ จากสองชนิดพืชเศรษฐกิจอันดับต้นของประเทศ ที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจปีละกว่าหนึ่งแสนล้านบาทในแต่ละชนิด นายรพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ เปิดเผยว่า ในยุคที่โลกกำลังเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และเข้าสู่สังคมยุคดิจิทัล กรมวิชาการเกษตรพร้อมที่จะสนับสนุนบทบาทการนำดิจิทัลไปสู่งานวิจัย โดยกรมวิชาการเกษตรมีบทบาทสำคัญในเรื่องการวิจัยสินค้าเกษตรพืชพันธุ์ต่างๆ ซึ่งการนำเทคโนโลยี AI เข้ามาสนับสนุน ประกอบกับแผนการจัดการเทคโนโลยีของประเทศไทย ได้ระบุชัดเจนว่า ในสังคมยุคสมัยที่เปลี่ยนไป เราจะต้องติดอาวุธทางปัญญาให้กับเกษตรกรไทย ด้วยพลังของงานวิจัย ที่ใช้ระบบ AI เป็นตัวขับเคลื่อนสำคัญ นายรพีภัทร์ กล่าวต่อไปว่า กรมวิชาการเกษตร ได้เตรียมจัดทำฐานข้อมูล โดยเฉพาะเรื่องของพืชเกษตรทุเรียนและมันสำปะหลัง ผ่านระบบ AI chatbot “อยากเชิญชวนพี่น้องเกษตรกร และประชาชนผู้สนใจ ได้เข้ามารับรู้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ โดยสามารถนำเทคโนโลยีด้านการเกษตรที่มีความแม่นยำ ถูกต้อง ซึ่งผ่านการค้นคว้าวิจัยโดยกรมวิชาการเกษตรมาเป็นเวลานาน ได้นำมาถ่ายทอดให้ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อรับฟังข้อมูลต่างๆ ทั้งในเชิงศึกษาหาความรู้ และเพื่อการวางแผนการผลิตสินค้าพืชที่สำคัญ โดยเฉพาะทุเรียนและมันสำปะหลัง ถือว่าเป็นพืชเศรษฐกิจอันดับต้นๆ ของประเทศไทย ซึ่งทั้ง 2 ชนิดพืชนี้ สามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจในแต่ละปี มากกว่าหนึ่งแสนล้านบาทในแต่ละชนิด ดังนั้น ถึงเวลาแล้วที่เราจะต้องใช้เทคโนโลยีที่แม่นยำ เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารที่ใช้งานง่าย ให้พี่น้องเกษตรกร และประชาชนสามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลาผ่าน AI Chatbot ของกรมวิชาการเกษตร” ทั้งนี้ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาประเทศไทยมีการผลิตและส่งออกทุเรียนและมันสำปะหลัง มูลค่า มากกว่าแสนล้านบาทต่อปี ต่อชนิด นับเป็นพืชที่มีบทบาทสำคัญในภาคการเกษตร ทั้งในแง่ของการสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรและเป็นสินค้าส่งออก แต่เกษตรกรยังต้องเผชิญกับความท้าทายในหลายด้าน เช่น โรค แมลง และจัดการปุ๋ย ทำให้ผลผลิตคุณภาพตกต่ำ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีภารกิจหลักเกี่ยวกับพืช ศึกษา วิจัย และพัฒนาพืช เครื่องจักรกลการเกษตร และปัจจัยการผลิต ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต บริการวิเคราะห์ ทดสอบ ตรวจสอบ รับรองมาตรฐานสินค้าพืช ให้คำปรึกษา เกี่ยวกับ ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช วัสดุการเกษตร ผลผลิต และผลิตภัณฑ์พืช เพื่อยกระดับมาตรฐานการผลิตพืชเพื่อพัฒนาผลผลิตพืช ให้มีคุณภาพและปลอดภัยต่อผู้บริโภค ตามมาตรฐานสากล และเพื่อให้บริการการส่งออกสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน ซึ่งมีองค์ความรู้ด้านการ ผลิตมันสำปะหลัง และทุเรียน ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ในการพัฒนาเชิงรุก จึงต้องเผยแพร่ความรู้ รวมถึงส่งเสริมระบบเกษตรอัจฉริยะ (Smart Farming) ส่งเสริมการเกษตรที่ยั่งยืน โดยนำเทคโนโลยีมาเป็นตัวช่วยพัฒนาเครื่องมือประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ผลงานวิจัยของกรมวิชการเกษตรผ่านสื่อดิจิทัล ที่ช่วยในการเข้าถึงข้อมูลงานวิจัย เพื่อสนับสนุนการแก้ปัญหาทางการเกษตรที่เกี่ยวข้องกับทุเรียนและมันสำปะหลัง โดยเน้นการนำเสนอเนื้อหาที่เข้าใจง่ายและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง ผ่านแพลตฟอร์ม LINE Official Account (LINE OA) เป็นช่องทางหลักในการเผยแพร่ข้อมูล รองรับการตอบคำถาม อธิบายข้อมูล และสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้งาน สามารถเข้าถึงบริการได้ด้วยการสแกน QR Code หรือเพิ่มเพื่อนผ่าน Line OA สามารถใช้สร้างชุมชนออนไลน์ (Community) หรือประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสาร และประกาศต่างๆ (Broadcast) นอกจากนี้ ยังนำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ AI Chatbot เข้ามาใช้งานร่วมกับแพลตฟอร์ม LINE Official Account (LINE OA) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการตอบคำถามและให้ข้อมูลเนื้อหาจากงานวิจัย พร้อมสามารถทำหน้าที่ตอบคำถามเชิงลึก อธิบายข้อมูลที่ซับซ้อน และให้คำแนะนำที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้งาน เช่น การวิเคราะห์ ภาพพืช ผลผลิต หรือปัญหาทางการเกษตร สามารถประมวลผลและแสดงผลการวิเคราะห์ที่แม่นยำและรวดเร็ว พร้อมแปลข้อมูลที่ได้ให้อยู่ในรูปแบบที่เข้าใจง่าย เช่น การบ่งชี้พันธุ์ของพืช อาการผิดปกติที่เกิดขึ้น หรือคำแนะนำเบื้องต้นที่เหมาะสมสำหรับการแก้ไขปัญหา ให้ได้รับคำตอบอย่างรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ ผ่านช่องทางการนำเสนอการเล่าเรื่อง ทุเรียน โดย Mascot น้องหนาม ส่วน มันสำปะหลัง เล่าเรื่องโดย Mascot น้องมันมัน ทั้งนี้ แพลตฟอร์ม LINE Official Account (LINE OA) และ AI Chatbot ของกรมวิชาการเกษตร เตรียมเปิดทดลองระบบการให้บริการ ตั้งแต่วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2568 เป็นต้นไป
RollerCoaster [Official Music] - MoonLight
02:26
ประเทศไทย - Breathe Boy
02:01
My Cartoon - Breathe Boy (Official Music)
03:01
เพลง "แม่จ๋า..."
03:28

เพลง "แม่จ๋า..."

เนื้อเพลง "แม่จ๋า..." คิดถึงแม่สุดหัวใจ รักแม่นั้นให้มากกว่าใคร มากกว่าฟ้า กว้างกว่าขอบเขตใดใด ไม่มีสิ้นสุด ความรักบริสุทธิ์ของแม่ แม่ไม่เคย จากไปไหน ไม่ว่าวันใด ลูกทุกข์ใจไม่เคยทอดทิ้ง เคียงข้างเสมอพร้อมให้ทุกสิ่ง กำลังใจ ให้ลูกคนนี้เสมอมา แม่จ๋า รักแม่ที่สุด ในโลกนี้ ขอโทษแม่ในบางครั้งที่ ลูกคนนี้อาจละเลยไม่ดูแล แม่จ๋า หนูรักแม่ หนูสัญญาว่าหนูจะดูแล แม่คนนี้ที่รักที่สุดในโลกเลย ถึงวันนี้ ที่หนูเป็นผู้ใหญ่ ยังคงคิดถึงแม่ไม่เคยลืม แม่แก่เฒ่าชรา ผ่านพ้นคืน ยืนแทบไม่ไหว หนูจะดูแล แม่เป็นดัง แสงไฟ ทำให้ใจ ได้อบอุ่น พร้อมดูแลปลอบใจพร้อมเจือจุน แม่คอยหนุนลูกคนนี้ทุกเวลา แม่จ๋ารักแม่ที่สุด ในโลกนี้ ขอโทษแม่ในบางครั้งที่ ลูกคนนี้อาจละเลยไม่ดูแล แม่จ๋าหนูรักแม่ หนูสัญญาว่าหนูจะดูแล แม่คนนี้ที่รักที่สุดในโลกเลย
เพลง "ซ้อม"
02:28

เพลง "ซ้อม"

เนื้อเพลง "ซ้อม" หวัดดี เธอชื่อไรอ่ะ? กลับบ้านด้วยกันไหม? เธอกลับยังไง? เอ่อ... คือ เราไปส่งเอาไหม? กินไอติมกันไหม? มีใครมารับหรือยัง? แค่พูดก็ยังต้องซ้อม พูดอ้อมไปก็อ้อมมา เธอน่ารักขนาดนี้ ใครไม่ตื่นเต้นอย่างงี้ ก็บ้าไปเลย อยากจะขอเวลาซ้อม อีกนิด ผมจะพูด ไม่ให้ติด ไม่ให้ขัด รอเรือ ลอลิง ให้ชัดชัด ทำไม น่ารักจัง เธอ ขอ ขอ ขอเวลาอีกนิด อยากจะชิด อยากจะใกล้เธอกว่านี้ ขอเราซ้อม ขอเราคิด ให้ดี๊ดี โธ่! ให้ตาย เจอเธอ สุดท้าย ไม่ได้พูดที่ซ้อมเลย [Rap] โธ่ เพื่อนเอ้ย ซ้อมทำไม ให้เสียเวลา ไม่จำเป็นต้องซ้อมบอกเลย รักไม่จำเป็นต้องซ้อม ชอบเขาก็ไม่ต้องเขิน เดินไปบอกชอบ ผมอยากจะชวน กลับบ้านด้วยกัน dinner with me you ok ไหม? ไม่ยาก ไม่เห็นต้องซ้อมเลย ขอ ขอ ขอเวลาอีกนิด อยากจะชิด อยากจะใกล้เธอกว่านี้ ขอเราซ้อม ขอเราคิด ให้ดี๊ดี โธ่! ให้ตาย เจอเธอ สุดท้าย ไม่ได้พูดที่ซ้อมเลย] ที่เคยขอ ขอเวลาอีกนิด อยากจะชิด อยากจะใกล้เธอกว่านี้ ที่เคยซ้อม ซ้อม ให้ดี๊ดี ก็แค่เธอคนนี้ คนเดียว เท่านั้นไง ก็แค่ซ้อมพูด ซ้อมคุย ให้ดู๊ดี ที่ไม่ต้องซ้อม พร้อมเสมอ มาเป้นปี ชอบเธอคนนี้ พร้อมทันที เรียกที่รักเลย
เพลง"เธอน่ารัก"
03:11

เพลง"เธอน่ารัก"

เนื้อเพลง "เธอน่ารัก" เราน่ารัก ดูแล้วสดใส ยิ้มของเรา หัวใจเธอละลาย เธอมองมา สักนิดก็ได้ เราน่ารัก แล้วเธอคิดยังไง เดินด้วยกัน เห็นสายตาเธอ บางครั้งก็เหม่อ ดูเธอเขินไป แต่ยังไง บอกกันได้ไหม เราน่ารัก แล้วเธอรักหรือเปล่า เราน่ารัก เธอชอบใช่ไหม หัวใจเรา เต้นแรงทุกที เธอพูดมาด้วยความรักมากมาย เราน่ารัก แล้วรักเราไหม เสียงหัวเราะ ของเราเธอก็รัก ถ้าเธอได้ยิน จะทำให้ชื่นใจ มองดูเธอ เข้ามายืนใกล้ใกล้ เราน่ารัก แล้วเธอรักใช่ไหม ในวันหนึ่ง เมื่อเราได้พบ ไม่เคยคิดมาก่อนเลยว่าใครจะสนใจ แต่ดูเธอ มีความหมาย เธอน่ารัก เธอรู้ตัวบ้างไหม เราน่ารัก เธอชอบใช่ไหม หัวใจเรา เต้นแรงทุกที เธอพูดมาด้วยความรักมากมาย เราน่ารัก แล้วรักเราไหม เธอน่ารัก มาเป็นแฟนกันไหม... แนะนำ ติม ได้ที่ nickolastth@gmail.com
"รักตัวเองก่อนจะรักใคร" -  [Official Music] #Nickolastth
03:26

"รักตัวเองก่อนจะรักใคร" - [Official Music] #Nickolastth

"รักตัวเองก่อนจะรักใคร" - NickoLastTH บนเส้นทางรัก ที่โดดเดี่ยว แม้เพียงเศษเสี้ยวก็ไม่เคยสมหวัง มันเป็นอย่างไรกับชีวิตของฉัน พบเจอแต่คนใจร้าย สุดท้ายก็ทิ้งกันไป ที่ใครว่ารักแท้มีอยู่จริง วันนี้สิ่งนั้นไม่ค่อยแน่ใจ ที่ผ่านมา รักฉันเหมือน น้ำหยดลงบนทราย ชุ่มชื้นแล้วกลับแห้งหายไป ไม่เหลืออะไร รักให้ไป ได้มาเพียงความเหงาทุกที ความเหงา เท่านั้นที่เข้ามาในหัวใจ ไม่เคยได้รักจริงใจจากที่ไหน ไม่เชื่ออีกแล้ว ความรักของใคร รักตัวเอง เท่านั้น ฉันต้องทำให้ได้ รักตัวเอง ให้มากที่สุด หยุดทำร้ายหัวใจ ต่อไป สักวันรักที่ตามหา คงไม่ไกลเกินไป รักตัวเองก่อนจะรักใคร รักตัวเอง ให้มากที่สุด หยุดทำร้ายหัวใจ ต่อไป สักวันรักที่ตามหา คงไม่ไกลเกินไป รักตัวเองก่อนจะรักใคร ขอแค่มีหวังในความรัก ไม่อ่อนแอ ไม่ทำร้าย หัวใจ ของเธอเอง รักตัวเอง ให้มากที่สุด หยุดทำร้ายหัวใจ ต่อไป สักวันรักที่ตามหา คงไม่ไกลเกินไป รักตัวเองก่อนจะรักใคร รอวันที่เธอจะได้รักใครสักคน #Nickolastth #เพลงเพราะๆ
"ชู้ทางใจ"  - NickoLastTH [Official Music]
04:19

"ชู้ทางใจ" - NickoLastTH [Official Music]

เนื้อเพลง "ชู้ทางใจ" วันนั้นวันที่เธอสบสายตา บอกกับตัวเองว่าทำตัวไม่ถูก แต่รู้ว่ามีความสุข ทุกทีที่ได้เห็นเธอหันมา แต่ฉันก็รู้ว่าเป็นไปไม่ได้ เรื่องของเราใครเขาจะเข้าใจ ได้แค่เพียงแอบมองกัน เท่านั้น คงไม่มากไปกว่านี้ ฉันมีคนของใจ เธอมีใครคนนั้น สิ่งที่เรามีให้กัน ใครก็คิดว่าไม่ดี เราคงทำได้เพียงเท่านี้ อย่าให้ใครกล่าวหาว่าไม่ดี มีคนรักอยู่แล้วแต่มีสองใจ ทำไมโชคชะตาและเวลา ต้องพาเรามาเจอกันช้าไป ฉันรักเธอ เธอรักฉัน แต่เปิดเผยไม่ได้ จะต้องทำยังไง ให้เราได้รักกัน ฉันมีคนของใจ เธอมีใครคนนั้น สิ่งที่เรามีให้กัน ใครก็คิดว่าไม่ดี เราคงทำได้เพียงเท่านี้ อย่าให้ใครกล่าวหาว่าไม่ดี มีคนรักอยู่แล้วแต่มีสองใจ ต้องอยู่กันไปแบบนี้จริงจริงใช่ไหม ทรมานทั้งหัวใจ ไม่อยากเสียใครสักคน ได้ไหม ขอร้อง.. ฉันมีคนของใจ เธอมีใครคนนั้น สิ่งที่เรามีให้กัน ใครก็คิดว่าไม่ดี เราคงทำได้เพียงเท่านี้ อย่าให้ใครกล่าวหาว่าไม่ดี มีคนรักอยู่แล้วแต่มีสองใจ ฉันก็รู้ว่าไม่ดี เธอมีใจให้กัน ทางเดียวที่เราต้องเลือกมัน หยุดความสัมพันธ์ และกลับไปรักคนของตัวเอง อย่าทำร้ายใคร ด้วยความรักที่นอกใจ มันไม่ดี...ไม่ดี... #nickolastth
ในห้วงจิต (Official Music) - NickoLastTH
03:18

รวมคลิป

13 มี.ค.68 ใหม่ ดาวิกา ไม่พลาด ร่วมชม รอบพิเศษ แอนิเมชั่นจีน"นาจา2"  ทำรายได้สูงสุดในประวัติศาสตร์
03:12

13 มี.ค.68 ใหม่ ดาวิกา ไม่พลาด ร่วมชม รอบพิเศษ แอนิเมชั่นจีน"นาจา2" ทำรายได้สูงสุดในประวัติศาสตร์

เฉลิมฉลองความสัมพันธ์ไทย-จีน 50 ปี เชิญชวนชาวจีนในไทยชม “นาจา 2” ร่วมกันทำลายสถิติภาพยนตร์จีนที่สร้างยอดขายสูงสุดของโลก เนื่องในโอกาสสำคัญของการเฉลิมฉลองครบรอบ 50 ปี แห่งความสัมพันธ์ทางการทูตไทย-จีน เพื่อส่งเสริมมิตรภาพอันลึกซึ้ง และการแลกเปลี่ยนวัฒนธรรมระหว่างสองประเทศ บริษัทไทยเจียระไน กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) , สำนักข่าว Thailand Headlines (ไท่กั๋ว โถวเถียว) และ นิตยสาร ManGu Magazine ได้ร่วมกันจัดกิจกรรมพิเศษเชิญชวนชาวจีนในไทยเข้าร่วมชมภาพยนตร์ “นาจา 2” รอบพิเศษในไทย และร่วมกันเป็นส่วนหนึ่งในการทำลายสถิติโลก โดยมีแขกผู้มีเกียรติชาวจีนที่อาศัยอยู่ในไทย นักธุรกิจจีน-ไทย และผู้ที่สนใจเข้าร่วมงานกว่า 3,000 คน นับเป็นการจัดงานชมภาพยนตร์รอบพิเศษที่ใหญ่ที่สุดในไทย ภาพยนตร์แอนิเมชัน “นาจา 2 (哪吒之魔童降世 II)” เรื่องนี้ได้รับการยกย่องอย่างกว้างขวางและประสบความสำเร็จทั้งในแง่ของรายได้และเสียงตอบรับจากผู้ชม จนกลายเป็นหนึ่งในภาพยนตร์แอนิเมชันที่ทำรายได้สูงสุดในประวัติศาสตร์ของจีน และยังขึ้นแท่นเป็นภาพยนตร์แอนิเมชันที่ทำรายได้สูงสุดในโลก แซงหน้า “Inside Out 2” ของ Pixar ซึ่งสะท้อนถึงศักยภาพอันยอดเยี่ยมในการนำเสนอวัฒนธรรมและตำนานจากฝั่งตะวันออก นอกจากนี้ยังได้รับคำวิจารณ์ในแง่บวกอย่างมากจากการเล่าเรื่องที่ลึกซึ้งและซับซ้อน ที่สามารถดึงดูดใจทั้งผู้ใหญ่และเด็กได้อย่างลงตัว ทำให้มันกลายเป็นผลงานที่สมบูรณ์แบบและข้ามพรมแดนวัฒนธรรมได้อย่างแท้จริง โดยมีรายได้รวมทั่วโลกกว่า 14,500 ล้านหยวน (ประมาณ 72,500 ล้านบาท) และได้รับความนิยมในกว่า 50 ประเทศ พร้อมสร้างกระแสบนโซเชียลมีเดียกว่า 100,000 ล้านวิว นอกจากนี้ยังติดอันดับ 7 ในสถิติประวัติศาสตร์บ็อกซ์ออฟฟิศทั่วโลกอีกด้วย กิจกรรมพิเศษจะจัดขึ้นในวันที่ 13 มีนาคม 2025 ณ โรงภาพยนตร์เอส เอฟ เวิลด์ ซีเนม่า เซ็นทรัลเวิลด์ โดยสำนักข่าว Thailand Headlines (ไท่กั๋ว โถวเถียว) มอบบัตรฟรีให้กับแฟนคลับชาวจีนในไทย เพื่อเป็นโอกาสในการพบปะกัน ร่วมกันเขียนข้อความพิเศษ และร่วมสร้างสถิติโลกใหม่ โดยงานนี้จะทำลายสถิติการชมภาพยนตร์รอบพิเศษที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย ด้วยการเหมาโรงภาพยนตร์จากเซ็นทรัลเวิลด์ถึง 8 โรง กิจกรรมนี้จะเป็นการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างไทยและจีน โดยมีบุคคลสำคัญจากทั้งสองประเทศ รวมถึงนักธุรกิจไทย-จีน กว่า 2,000 คน นอกจากนี้ยังมีดารา ศิลปิน และอินฟลูเอนเซอร์จากไทยมาร่วมเพิ่มสีสันและความบันเทิงให้กับงาน พร้อมทั้งมีคอสเพลย์และการถ่ายรูปที่ระลึกให้ทุกคนได้สนุกสนานและสร้างความทรงจำร่วมกัน สำหรับการจัดกิจกรรมในครั้งนี้ ได้รับการสนับสนุนอย่างดียิ่งจากบริษัท บีวายดี ออโต้ (ไทยแลนด์ ) จำกัด, CQK, CHJ JEWELLERY (潮宏基), Oppein Home Gr (欧派家居), Singapore International School Bangkok (sisb新加坡国际学校), HARVELAND Group 恒和房地产, บริษัท เหย่าหยี่ กรุ๊ป จำกัด, Jin Xin Tai Jewelry 金興泰 珠宝品牌, Lukfook Jewelry 六福珠宝, บริษัท เบอร์แทรม (1958) จำกัด 上标油, Bangkok Star และ SF Cinema บริษัท เอส เอฟ คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ที่ร่วมทำให้กิจกรรมในครั้งนี้ประสบความสำเร็จด้วยดี #泰国头条新闻X哪吒2 #ThailandHeadlinesXNeZha2TH #ไท่กั๋วโถวเถียวXนาจา2
13 มี.ค.68 "กินยาสมเหตุ หายโรคสมผล ทุกคนสมใจ"ห่างไกลโรคไตแน่นอน
06:17

13 มี.ค.68 "กินยาสมเหตุ หายโรคสมผล ทุกคนสมใจ"ห่างไกลโรคไตแน่นอน

สสส. ร่วมกับ จุฬาฯ ร่วมรณรงค์ World Kidney Day สร้างการรับรู้ควบคู่การดูแล เร่งสื่อสารการใช้ยาเพื่อลดความเสี่ยงโรคไต ... ดร.นพ. ไพโรจน์ เสาน่วม รองผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส. กล่าวว่า.. องค์การอนามัยโลก ได้กำหนดให้วันพฤหัสบดีในสัปดาห์ที่สองของเดือนมีนาคมของทุกปีเป็นวันไตโลก จากรายงานภาวะสังคมไตรมาสที่ 3/2567 ของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ระบุว่า คนไทยป่วยเป็นโรคไตเรื้อรังเพิ่มขึ้นจาก 9.8 แสนคน ในปี 2565 เป็น 1.13 ล้านคน ในปี 2567 และสถานการณ์โรคไตเรื้อรังปี 2534 – 2564 มีการสูญเสียปีสุขภาวะหรือความสูญเสียด้านสุขภาพเร็วขึ้น 3.14 เท่า รองลงมาคือมะเร็ง 2 เท่า หลอดเลือดหัวใจ 1.8 เท่า สาเหตุเกิดจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้องโดยเฉพาะอาหารรสเค็ม และการบริโภคยาที่ไม่ถูกต้องและเกินความจำเป็น การเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และการสูบบุหรี่ ขณะที่ข้อมูลการสำรวจความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในบุคลากรด้านสาธารณสุขและประชาชน ใน 13 เขตสุขภาพ ปี 2567 ของกระทรวงสาธารณสุข พบว่า ประชาชนมีระดับความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผล 64.9% “ สสส. มุ่งส่งเสริมมาตรการเพื่อป้องกันประเด็นที่เกี่ยวกับโรคไต โดยมีแผนอาหารลดเค็ม ลดโรคขับเคลื่อนนโยบายลดโซเดียมให้คนไทยลดบริโภคเค็ม แผนงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพและการพัฒนาระบบยา ขับเคลื่อนนโยบายและมาตรการที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมงานวิชาการ งานวิจัย และสร้างความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายในการคุ้มครองผู้บริโภคจากการใช้ยาอันตราย รวมถึงการสื่อสารรณรงค์ผ่านเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้บริโภค ป้องกันการถูกหลอกลวงเรื่องการใช้ยา ซึ่งการพัฒนาการสื่อสารเรื่องการใช้ยาเพื่อลดความเสี่ยงโรคไต เพื่อให้คนตระหนักและมีความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยาในชีวิตประจำวัน เพราะกลุ่มยาแก้อักเสบ หรือ NSAIDs ยาชุด ยาสมุนไพรบางชนิด อาจมีฤทธิ์หรือคุณสมบัติบางอย่างทำให้ไตทำงานได้ลดลง ซึ่งหากประชาชนทั่วไปหาซื้อและนำมาใช้ด้วยตนเอง โดยขาดความรู้หรือความระมัดระวัง และไม่ได้ปรึกษาแพทย์ก็จะส่งผลเสียต่อไตได้ ” ดร.นพ. ไพโรจน์ กล่าว ดร.วรรษยุต คงจันทร์ รองคณบดีด้านบริการวิชาการและเชื่อมโยงสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า.. ผลการวิจัยพฤติกรรม ทัศนคติ และการเปิดรับสื่อเกี่ยวกับการบริโภคยากลุ่ม NSAIDs สมุนไพร และอาหารเสริมของกลุ่มพนักงานออฟฟิศ และผู้ใช้แรงงานโดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1.รุ่นอายุ 44-59 ปี หรือเจเนอเรชันเอ็กซ์ กลุ่มผู้ใช้แรงงานส่วนใหญ่มีโรคประจำตัว เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน และใช้ยาตามแพทย์สั่งเป็นประจำ มักซื้อยาจากร้านขายยาเองเพื่อประหยัดเวลารวมถึงการใช้สมุนไพรเสริม มีพฤติกรรมการใช้ยาชุดตั้งแต่วัยรุ่น แม้จะตระหนักถึงความเสี่ยง กลุ่มพนักงานออฟฟิศมีโรคประจำตัวคล้ายกับกลุ่มแรงงาน แต่ไปพบแพทย์และใช้ยาตามแพทย์สั่งมากกว่า ใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารมากกว่ากลุ่มผู้ใช้แรงงาน และไม่ใช้ยาชุดเนื่องจากเข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพมากกว่า ส่วนการเปิดรับสื่อทั้งสองกลุ่มเน้นรับข้อมูลผ่านสื่อบุคคล เช่น ครอบครัวหรือเพื่อนใกล้ชิด ผศ. ดร.ธีรดา จงกลรัตนาภรณ์ หัวหน้าภาคประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์และหัวหน้าโครงการ เสริมจากผลวิจัยต่อว่า.. 2. รุ่นอายุ 28-43 ปี หรือเจเนอเรชันวาย กลุ่มผู้ใช้แรงงานเริ่มมีโรคประจำตัว เช่น อาการปวดกล้ามเนื้อ ทำให้ใช้ยากลุ่ม NSAIDs เป็นประจำ และใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและสมุนไพรตามคำแนะนำจากคนใกล้ชิด กลุ่มพนักงานออฟฟิศมีการดูแลสุขภาพมากขึ้น ใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารโดยการปรึกษาแพทย์ ด้านทัศนคติเกี่ยวกับสุขภาพ ทั้งสองกลุ่มมีความกังวลเกี่ยวกับผลกระทบของการใช้ยาและสมุนไพรที่มีผลต่อไต แต่ยังใช้ยาและอาหารเสริมตามคำแนะนำจากแพทย์หรือหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต ส่วนการเปิดรับสื่อกลุ่มนี้นิยมสื่อออนไลน์ เช่น TikTok Facebook โดยเฉพาะวิดีโอสั้นจากบุคลากรทางการแพทย์ หรืออินฟลูเอนเซอร์สายสุขภาพ “ 3. รุ่นอายุ 19-27 ปี หรือเจเนอเรชันแซด กลุ่มผู้ใช้แรงงานยังไม่ค่อยมีโรคประจำตัว เน้นการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่เกี่ยวกับผิวพรรณและรูปร่าง โดยได้รับข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตหรือคำแนะนำจากเพื่อน กลุ่มพนักงานออฟฟิศคล้ายกับกลุ่มผู้ใช้แรงงาน ในเรื่องการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร แต่จะไปพบแพทย์เมื่อมีอาการหนักขึ้น ด้านทัศนคติเกี่ยวกับสุขภาพ ครอบครัวและคนใกล้ชิดมีผลต่อการตัดสินใจ โดยกลุ่มนี้มีความระมัดระวังในการใช้ยากลุ่ม NSAIDs ส่วนการเปิดรับสื่อจะเน้นการรับสื่อออนไลน์ เช่น TikTok โดยเชื่อถือข้อมูลจากแพทย์หรืออินฟลูเอนเซอร์ที่มีความน่าเชื่อถือในการให้ข้อมูลด้านสุขภาพ จากข้อมูลดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่าการสร้างการตระหนักรู้พร้อมกับการส่งเสริมความรู้ ให้เข้าถึงกลุ่มคนทุกรุ่นเป็นเรื่องที่สำคัญ ซึ่งถือเป็นการส่งเสริมสุขภาวะคนในประเทศให้มีสุขภาพที่ดี และลดค่าใช้จ่ายของประเทศ หากประชาชนทั่วไปต้องการสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ยาที่ถูกต้องสามารถสอบถามข้อมูลได้ที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) สายด่วน 1556 ” ผศ. ดร.ธีรดา กล่าว นอกจากนี้ ผศ. ภญ. ดร.นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี ผู้จัดการศูนย์วิชาการเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.) ยังได้ร่วมแบ่งบันความรู้เกี่ยวกับ สถานการณ์ปัจจุบันของภาวะผู้ป่วยโรคไต และสาเหตุหลักของโรคไตในปัจจุบัน รวมถึง ผลกระทบของการใช้ยาโดยไม่ปรึกษาเภสัชกร พร้อมทั้งแนะนำแนวทางการจ่ายยาให้ปลอดภัยต่อไต ทั้งนี้ยังมีการแบ่งบันประสบการณ์ตรงจากคุณคริสโตเฟอร์ ไรท์ ครูสอนภาษาอังกฤษรายการ Click ช่อง Mahidol Channel นักพูด และวิทยากรชื่อดัง ได้เล่าประสบการณ์ตรงจากใจผู้บริโภคและคุณพ่อที่ต้องระมัดระวังเรื่องการใช้ยาให้กับลูกชายที่มีปัญหาจากโรคไต
13 มี.ค.68 "คริสโตเฟอร์ ไรท์" ผู้มีบุตรที่มีปัญหาเกี่ยวกับไต เลี้ยงลูกอย่างไร?
09:16

13 มี.ค.68 "คริสโตเฟอร์ ไรท์" ผู้มีบุตรที่มีปัญหาเกี่ยวกับไต เลี้ยงลูกอย่างไร?

สสส. ร่วมกับ จุฬาฯ ร่วมรณรงค์ World Kidney Day สร้างการรับรู้ควบคู่การดูแล เร่งสื่อสารการใช้ยาเพื่อลดความเสี่ยงโรคไต ... ดร.นพ. ไพโรจน์ เสาน่วม รองผู้จัดการกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส. กล่าวว่า.. องค์การอนามัยโลก ได้กำหนดให้วันพฤหัสบดีในสัปดาห์ที่สองของเดือนมีนาคมของทุกปีเป็นวันไตโลก จากรายงานภาวะสังคมไตรมาสที่ 3/2567 ของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ระบุว่า คนไทยป่วยเป็นโรคไตเรื้อรังเพิ่มขึ้นจาก 9.8 แสนคน ในปี 2565 เป็น 1.13 ล้านคน ในปี 2567 และสถานการณ์โรคไตเรื้อรังปี 2534 – 2564 มีการสูญเสียปีสุขภาวะหรือความสูญเสียด้านสุขภาพเร็วขึ้น 3.14 เท่า รองลงมาคือมะเร็ง 2 เท่า หลอดเลือดหัวใจ 1.8 เท่า สาเหตุเกิดจากพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้องโดยเฉพาะอาหารรสเค็ม และการบริโภคยาที่ไม่ถูกต้องและเกินความจำเป็น การเป็นโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และการสูบบุหรี่ ขณะที่ข้อมูลการสำรวจความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในบุคลากรด้านสาธารณสุขและประชาชน ใน 13 เขตสุขภาพ ปี 2567 ของกระทรวงสาธารณสุข พบว่า ประชาชนมีระดับความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผล 64.9% “ สสส. มุ่งส่งเสริมมาตรการเพื่อป้องกันประเด็นที่เกี่ยวกับโรคไต โดยมีแผนอาหารลดเค็ม ลดโรคขับเคลื่อนนโยบายลดโซเดียมให้คนไทยลดบริโภคเค็ม แผนงานคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพและการพัฒนาระบบยา ขับเคลื่อนนโยบายและมาตรการที่เกี่ยวข้อง ส่งเสริมงานวิชาการ งานวิจัย และสร้างความเข้มแข็งให้กับเครือข่ายในการคุ้มครองผู้บริโภคจากการใช้ยาอันตราย รวมถึงการสื่อสารรณรงค์ผ่านเทคโนโลยีที่ทันสมัย เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้บริโภค ป้องกันการถูกหลอกลวงเรื่องการใช้ยา ซึ่งการพัฒนาการสื่อสารเรื่องการใช้ยาเพื่อลดความเสี่ยงโรคไต เพื่อให้คนตระหนักและมีความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้ยาในชีวิตประจำวัน เพราะกลุ่มยาแก้อักเสบ หรือ NSAIDs ยาชุด ยาสมุนไพรบางชนิด อาจมีฤทธิ์หรือคุณสมบัติบางอย่างทำให้ไตทำงานได้ลดลง ซึ่งหากประชาชนทั่วไปหาซื้อและนำมาใช้ด้วยตนเอง โดยขาดความรู้หรือความระมัดระวัง และไม่ได้ปรึกษาแพทย์ก็จะส่งผลเสียต่อไตได้ ” ดร.นพ. ไพโรจน์ กล่าว ดร.วรรษยุต คงจันทร์ รองคณบดีด้านบริการวิชาการและเชื่อมโยงสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวว่า.. ผลการวิจัยพฤติกรรม ทัศนคติ และการเปิดรับสื่อเกี่ยวกับการบริโภคยากลุ่ม NSAIDs สมุนไพร และอาหารเสริมของกลุ่มพนักงานออฟฟิศ และผู้ใช้แรงงานโดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม คือ 1.รุ่นอายุ 44-59 ปี หรือเจเนอเรชันเอ็กซ์ กลุ่มผู้ใช้แรงงานส่วนใหญ่มีโรคประจำตัว เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน และใช้ยาตามแพทย์สั่งเป็นประจำ มักซื้อยาจากร้านขายยาเองเพื่อประหยัดเวลารวมถึงการใช้สมุนไพรเสริม มีพฤติกรรมการใช้ยาชุดตั้งแต่วัยรุ่น แม้จะตระหนักถึงความเสี่ยง กลุ่มพนักงานออฟฟิศมีโรคประจำตัวคล้ายกับกลุ่มแรงงาน แต่ไปพบแพทย์และใช้ยาตามแพทย์สั่งมากกว่า ใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารมากกว่ากลุ่มผู้ใช้แรงงาน และไม่ใช้ยาชุดเนื่องจากเข้าถึงข้อมูลด้านสุขภาพมากกว่า ส่วนการเปิดรับสื่อทั้งสองกลุ่มเน้นรับข้อมูลผ่านสื่อบุคคล เช่น ครอบครัวหรือเพื่อนใกล้ชิด ผศ. ดร.ธีรดา จงกลรัตนาภรณ์ หัวหน้าภาคประชาสัมพันธ์ คณะนิเทศศาสตร์และหัวหน้าโครงการ เสริมจากผลวิจัยต่อว่า.. 2. รุ่นอายุ 28-43 ปี หรือเจเนอเรชันวาย กลุ่มผู้ใช้แรงงานเริ่มมีโรคประจำตัว เช่น อาการปวดกล้ามเนื้อ ทำให้ใช้ยากลุ่ม NSAIDs เป็นประจำ และใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารและสมุนไพรตามคำแนะนำจากคนใกล้ชิด กลุ่มพนักงานออฟฟิศมีการดูแลสุขภาพมากขึ้น ใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารโดยการปรึกษาแพทย์ ด้านทัศนคติเกี่ยวกับสุขภาพ ทั้งสองกลุ่มมีความกังวลเกี่ยวกับผลกระทบของการใช้ยาและสมุนไพรที่มีผลต่อไต แต่ยังใช้ยาและอาหารเสริมตามคำแนะนำจากแพทย์หรือหาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ต ส่วนการเปิดรับสื่อกลุ่มนี้นิยมสื่อออนไลน์ เช่น TikTok Facebook โดยเฉพาะวิดีโอสั้นจากบุคลากรทางการแพทย์ หรืออินฟลูเอนเซอร์สายสุขภาพ “ 3. รุ่นอายุ 19-27 ปี หรือเจเนอเรชันแซด กลุ่มผู้ใช้แรงงานยังไม่ค่อยมีโรคประจำตัว เน้นการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่เกี่ยวกับผิวพรรณและรูปร่าง โดยได้รับข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตหรือคำแนะนำจากเพื่อน กลุ่มพนักงานออฟฟิศคล้ายกับกลุ่มผู้ใช้แรงงาน ในเรื่องการใช้ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร แต่จะไปพบแพทย์เมื่อมีอาการหนักขึ้น ด้านทัศนคติเกี่ยวกับสุขภาพ ครอบครัวและคนใกล้ชิดมีผลต่อการตัดสินใจ โดยกลุ่มนี้มีความระมัดระวังในการใช้ยากลุ่ม NSAIDs ส่วนการเปิดรับสื่อจะเน้นการรับสื่อออนไลน์ เช่น TikTok โดยเชื่อถือข้อมูลจากแพทย์หรืออินฟลูเอนเซอร์ที่มีความน่าเชื่อถือในการให้ข้อมูลด้านสุขภาพ จากข้อมูลดังกล่าวสะท้อนให้เห็นว่าการสร้างการตระหนักรู้พร้อมกับการส่งเสริมความรู้ ให้เข้าถึงกลุ่มคนทุกรุ่นเป็นเรื่องที่สำคัญ ซึ่งถือเป็นการส่งเสริมสุขภาวะคนในประเทศให้มีสุขภาพที่ดี และลดค่าใช้จ่ายของประเทศ หากประชาชนทั่วไปต้องการสอบถามข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ยาที่ถูกต้องสามารถสอบถามข้อมูลได้ที่สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.) สายด่วน 1556 ” ผศ. ดร.ธีรดา กล่าว นอกจากนี้ ผศ. ภญ. ดร.นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี ผู้จัดการศูนย์วิชาการเฝ้าระวังและพัฒนาระบบยา (กพย.) ยังได้ร่วมแบ่งบันความรู้เกี่ยวกับ สถานการณ์ปัจจุบันของภาวะผู้ป่วยโรคไต และสาเหตุหลักของโรคไตในปัจจุบัน รวมถึง ผลกระทบของการใช้ยาโดยไม่ปรึกษาเภสัชกร พร้อมทั้งแนะนำแนวทางการจ่ายยาให้ปลอดภัยต่อไต ทั้งนี้ยังมีการแบ่งบันประสบการณ์ตรงจากคุณคริสโตเฟอร์ ไรท์ ครูสอนภาษาอังกฤษรายการ Click ช่อง Mahidol Channel นักพูด และวิทยากรชื่อดัง ได้เล่าประสบการณ์ตรงจากใจผู้บริโภคและคุณพ่อที่ต้องระมัดระวังเรื่องการใช้ยาให้กับลูกชายที่มีปัญหาจากโรคไต
26 ก.พ.68 สาธิตการใช้งานLine OA กรมวิชาการเกษตร
04:30

26 ก.พ.68 สาธิตการใช้งานLine OA กรมวิชาการเกษตร

“กรมวิชาการเกษตร” เปิดตัว “AI Chatbot” ตัวช่วยอัจฉริยะ พลิกโฉมการเกษตรไทย ให้เข้าถึงข้อมูลความรู้งานวิจัย ทุเรียน-มันสำปะหลัง หนุนสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ กว่าแสนล้านบาทต่อปี ต่อชนิด กรุงเทพฯ, 26 ก.พ. 68 : นายรพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดงาน “ก้าวสู่อนาคตเกษตรกรรมไทย ผ่านงานวิจัยด้วย AI Chatbot” ณ ห้องพระศิวะ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ คอนเวนชั่น พลิกโฉมการเกษตรไทย เปิดตัวนวัตกรรม AI Chatbot “ตัวช่วยอัจฉริยะ” ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลและความรู้ที่จำเป็นเกี่ยวกับการปลูกทุเรียนและมันสำปะหลังได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง และแม่นยำ ผ่านเครื่องมือสืบค้นงานวิจัยด้านการผลิตพืชของกรมวิชาการเกษตร ที่รวบรวมความรู้ งานวิจัย เกี่ยวกับทุเรียน และมันสำปะหลัง ไว้อย่างครบถ้วน ให้เกษตรกรและผู้ที่สนใจได้เรียนรู้ และนำไปใช้เพื่อเพิ่มผลผลิต และสร้างรายได้ จากสองชนิดพืชเศรษฐกิจอันดับต้นของประเทศ ที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจปีละกว่าหนึ่งแสนล้านบาทในแต่ละชนิด นายรพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ เปิดเผยว่า ในยุคที่โลกกำลังเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และเข้าสู่สังคมยุคดิจิทัล กรมวิชาการเกษตรพร้อมที่จะสนับสนุนบทบาทการนำดิจิทัลไปสู่งานวิจัย โดยกรมวิชาการเกษตรมีบทบาทสำคัญในเรื่องการวิจัยสินค้าเกษตรพืชพันธุ์ต่างๆ ซึ่งการนำเทคโนโลยี AI เข้ามาสนับสนุน ประกอบกับแผนการจัดการเทคโนโลยีของประเทศไทย ได้ระบุชัดเจนว่า ในสังคมยุคสมัยที่เปลี่ยนไป เราจะต้องติดอาวุธทางปัญญาให้กับเกษตรกรไทย ด้วยพลังของงานวิจัย ที่ใช้ระบบ AI เป็นตัวขับเคลื่อนสำคัญ นายรพีภัทร์ กล่าวต่อไปว่า กรมวิชาการเกษตร ได้เตรียมจัดทำฐานข้อมูล โดยเฉพาะเรื่องของพืชเกษตรทุเรียนและมันสำปะหลัง ผ่านระบบ AI chatbot “อยากเชิญชวนพี่น้องเกษตรกร และประชาชนผู้สนใจ ได้เข้ามารับรู้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ โดยสามารถนำเทคโนโลยีด้านการเกษตรที่มีความแม่นยำ ถูกต้อง ซึ่งผ่านการค้นคว้าวิจัยโดยกรมวิชาการเกษตรมาเป็นเวลานาน ได้นำมาถ่ายทอดให้ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อรับฟังข้อมูลต่างๆ ทั้งในเชิงศึกษาหาความรู้ และเพื่อการวางแผนการผลิตสินค้าพืชที่สำคัญ โดยเฉพาะทุเรียนและมันสำปะหลัง ถือว่าเป็นพืชเศรษฐกิจอันดับต้นๆ ของประเทศไทย ซึ่งทั้ง 2 ชนิดพืชนี้ สามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจในแต่ละปี มากกว่าหนึ่งแสนล้านบาทในแต่ละชนิด ดังนั้น ถึงเวลาแล้วที่เราจะต้องใช้เทคโนโลยีที่แม่นยำ เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารที่ใช้งานง่าย ให้พี่น้องเกษตรกร และประชาชนสามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลาผ่าน AI Chatbot ของกรมวิชาการเกษตร” ทั้งนี้ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาประเทศไทยมีการผลิตและส่งออกทุเรียนและมันสำปะหลัง มูลค่า มากกว่าแสนล้านบาทต่อปี ต่อชนิด นับเป็นพืชที่มีบทบาทสำคัญในภาคการเกษตร ทั้งในแง่ของการสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรและเป็นสินค้าส่งออก แต่เกษตรกรยังต้องเผชิญกับความท้าทายในหลายด้าน เช่น โรค แมลง และจัดการปุ๋ย ทำให้ผลผลิตคุณภาพตกต่ำ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีภารกิจหลักเกี่ยวกับพืช ศึกษา วิจัย และพัฒนาพืช เครื่องจักรกลการเกษตร และปัจจัยการผลิต ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต บริการวิเคราะห์ ทดสอบ ตรวจสอบ รับรองมาตรฐานสินค้าพืช ให้คำปรึกษา เกี่ยวกับ ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช วัสดุการเกษตร ผลผลิต และผลิตภัณฑ์พืช เพื่อยกระดับมาตรฐานการผลิตพืชเพื่อพัฒนาผลผลิตพืช ให้มีคุณภาพและปลอดภัยต่อผู้บริโภค ตามมาตรฐานสากล และเพื่อให้บริการการส่งออกสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน ซึ่งมีองค์ความรู้ด้านการ ผลิตมันสำปะหลัง และทุเรียน ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ในการพัฒนาเชิงรุก จึงต้องเผยแพร่ความรู้ รวมถึงส่งเสริมระบบเกษตรอัจฉริยะ (Smart Farming) ส่งเสริมการเกษตรที่ยั่งยืน โดยนำเทคโนโลยีมาเป็นตัวช่วยพัฒนาเครื่องมือประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ผลงานวิจัยของกรมวิชการเกษตรผ่านสื่อดิจิทัล ที่ช่วยในการเข้าถึงข้อมูลงานวิจัย เพื่อสนับสนุนการแก้ปัญหาทางการเกษตรที่เกี่ยวข้องกับทุเรียนและมันสำปะหลัง โดยเน้นการนำเสนอเนื้อหาที่เข้าใจง่ายและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง ผ่านแพลตฟอร์ม LINE Official Account (LINE OA) เป็นช่องทางหลักในการเผยแพร่ข้อมูล รองรับการตอบคำถาม อธิบายข้อมูล และสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้งาน สามารถเข้าถึงบริการได้ด้วยการสแกน QR Code หรือเพิ่มเพื่อนผ่าน Line OA สามารถใช้สร้างชุมชนออนไลน์ (Community) หรือประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสาร และประกาศต่างๆ (Broadcast) นอกจากนี้ ยังนำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ AI Chatbot เข้ามาใช้งานร่วมกับแพลตฟอร์ม LINE Official Account (LINE OA) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการตอบคำถามและให้ข้อมูลเนื้อหาจากงานวิจัย พร้อมสามารถทำหน้าที่ตอบคำถามเชิงลึก อธิบายข้อมูลที่ซับซ้อน และให้คำแนะนำที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้งาน เช่น การวิเคราะห์ ภาพพืช ผลผลิต หรือปัญหาทางการเกษตร สามารถประมวลผลและแสดงผลการวิเคราะห์ที่แม่นยำและรวดเร็ว พร้อมแปลข้อมูลที่ได้ให้อยู่ในรูปแบบที่เข้าใจง่าย เช่น การบ่งชี้พันธุ์ของพืช อาการผิดปกติที่เกิดขึ้น หรือคำแนะนำเบื้องต้นที่เหมาะสมสำหรับการแก้ไขปัญหา ให้ได้รับคำตอบอย่างรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ ผ่านช่องทางการนำเสนอการเล่าเรื่อง ทุเรียน โดย Mascot น้องหนาม ส่วน มันสำปะหลัง เล่าเรื่องโดย Mascot น้องมันมัน ทั้งนี้ แพลตฟอร์ม LINE Official Account (LINE OA) และ AI Chatbot ของกรมวิชาการเกษตร เตรียมเปิดทดลองระบบการให้บริการ ตั้งแต่วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2568 เป็นต้นไป
26 ก.พ.68 "กรมวิชาการเกษตร เปิดตัว LINE OA AI Chat bot ตอบทุกปัญหาเกษตร 24 ชม. พร้อมใช้แล้ววันนี้
03:57

26 ก.พ.68 "กรมวิชาการเกษตร เปิดตัว LINE OA AI Chat bot ตอบทุกปัญหาเกษตร 24 ชม. พร้อมใช้แล้ววันนี้

“กรมวิชาการเกษตร” เปิดตัว “AI Chatbot” ตัวช่วยอัจฉริยะ พลิกโฉมการเกษตรไทย ให้เข้าถึงข้อมูลความรู้งานวิจัย ทุเรียน-มันสำปะหลัง หนุนสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ กว่าแสนล้านบาทต่อปี ต่อชนิด กรุงเทพฯ, 26 ก.พ. 68 : นายรพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ อธิบดีกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ จัดงาน “ก้าวสู่อนาคตเกษตรกรรมไทย ผ่านงานวิจัยด้วย AI Chatbot” ณ ห้องพระศิวะ โรงแรมอัศวิน แกรนด์ คอนเวนชั่น พลิกโฉมการเกษตรไทย เปิดตัวนวัตกรรม AI Chatbot “ตัวช่วยอัจฉริยะ” ให้สามารถเข้าถึงข้อมูลและความรู้ที่จำเป็นเกี่ยวกับการปลูกทุเรียนและมันสำปะหลังได้อย่างสะดวก รวดเร็ว ถูกต้อง และแม่นยำ ผ่านเครื่องมือสืบค้นงานวิจัยด้านการผลิตพืชของกรมวิชาการเกษตร ที่รวบรวมความรู้ งานวิจัย เกี่ยวกับทุเรียน และมันสำปะหลัง ไว้อย่างครบถ้วน ให้เกษตรกรและผู้ที่สนใจได้เรียนรู้ และนำไปใช้เพื่อเพิ่มผลผลิต และสร้างรายได้ จากสองชนิดพืชเศรษฐกิจอันดับต้นของประเทศ ที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจปีละกว่าหนึ่งแสนล้านบาทในแต่ละชนิด นายรพีภัทร์ จันทรศรีวงศ์ เปิดเผยว่า ในยุคที่โลกกำลังเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว และเข้าสู่สังคมยุคดิจิทัล กรมวิชาการเกษตรพร้อมที่จะสนับสนุนบทบาทการนำดิจิทัลไปสู่งานวิจัย โดยกรมวิชาการเกษตรมีบทบาทสำคัญในเรื่องการวิจัยสินค้าเกษตรพืชพันธุ์ต่างๆ ซึ่งการนำเทคโนโลยี AI เข้ามาสนับสนุน ประกอบกับแผนการจัดการเทคโนโลยีของประเทศไทย ได้ระบุชัดเจนว่า ในสังคมยุคสมัยที่เปลี่ยนไป เราจะต้องติดอาวุธทางปัญญาให้กับเกษตรกรไทย ด้วยพลังของงานวิจัย ที่ใช้ระบบ AI เป็นตัวขับเคลื่อนสำคัญ นายรพีภัทร์ กล่าวต่อไปว่า กรมวิชาการเกษตร ได้เตรียมจัดทำฐานข้อมูล โดยเฉพาะเรื่องของพืชเกษตรทุเรียนและมันสำปะหลัง ผ่านระบบ AI chatbot “อยากเชิญชวนพี่น้องเกษตรกร และประชาชนผู้สนใจ ได้เข้ามารับรู้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ โดยสามารถนำเทคโนโลยีด้านการเกษตรที่มีความแม่นยำ ถูกต้อง ซึ่งผ่านการค้นคว้าวิจัยโดยกรมวิชาการเกษตรมาเป็นเวลานาน ได้นำมาถ่ายทอดให้ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ตลอด 24 ชั่วโมง เพื่อรับฟังข้อมูลต่างๆ ทั้งในเชิงศึกษาหาความรู้ และเพื่อการวางแผนการผลิตสินค้าพืชที่สำคัญ โดยเฉพาะทุเรียนและมันสำปะหลัง ถือว่าเป็นพืชเศรษฐกิจอันดับต้นๆ ของประเทศไทย ซึ่งทั้ง 2 ชนิดพืชนี้ สามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจในแต่ละปี มากกว่าหนึ่งแสนล้านบาทในแต่ละชนิด ดังนั้น ถึงเวลาแล้วที่เราจะต้องใช้เทคโนโลยีที่แม่นยำ เป็นเทคโนโลยีการสื่อสารที่ใช้งานง่าย ให้พี่น้องเกษตรกร และประชาชนสามารถเข้าถึงได้ตลอดเวลาผ่าน AI Chatbot ของกรมวิชาการเกษตร” ทั้งนี้ ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาประเทศไทยมีการผลิตและส่งออกทุเรียนและมันสำปะหลัง มูลค่า มากกว่าแสนล้านบาทต่อปี ต่อชนิด นับเป็นพืชที่มีบทบาทสำคัญในภาคการเกษตร ทั้งในแง่ของการสร้างรายได้ให้กับเกษตรกรและเป็นสินค้าส่งออก แต่เกษตรกรยังต้องเผชิญกับความท้าทายในหลายด้าน เช่น โรค แมลง และจัดการปุ๋ย ทำให้ผลผลิตคุณภาพตกต่ำ กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีภารกิจหลักเกี่ยวกับพืช ศึกษา วิจัย และพัฒนาพืช เครื่องจักรกลการเกษตร และปัจจัยการผลิต ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิต บริการวิเคราะห์ ทดสอบ ตรวจสอบ รับรองมาตรฐานสินค้าพืช ให้คำปรึกษา เกี่ยวกับ ดิน น้ำ ปุ๋ย พืช วัสดุการเกษตร ผลผลิต และผลิตภัณฑ์พืช เพื่อยกระดับมาตรฐานการผลิตพืชเพื่อพัฒนาผลผลิตพืช ให้มีคุณภาพและปลอดภัยต่อผู้บริโภค ตามมาตรฐานสากล และเพื่อให้บริการการส่งออกสินค้าเกษตรที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน ซึ่งมีองค์ความรู้ด้านการ ผลิตมันสำปะหลัง และทุเรียน ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการ ในการพัฒนาเชิงรุก จึงต้องเผยแพร่ความรู้ รวมถึงส่งเสริมระบบเกษตรอัจฉริยะ (Smart Farming) ส่งเสริมการเกษตรที่ยั่งยืน โดยนำเทคโนโลยีมาเป็นตัวช่วยพัฒนาเครื่องมือประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ผลงานวิจัยของกรมวิชการเกษตรผ่านสื่อดิจิทัล ที่ช่วยในการเข้าถึงข้อมูลงานวิจัย เพื่อสนับสนุนการแก้ปัญหาทางการเกษตรที่เกี่ยวข้องกับทุเรียนและมันสำปะหลัง โดยเน้นการนำเสนอเนื้อหาที่เข้าใจง่ายและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง ผ่านแพลตฟอร์ม LINE Official Account (LINE OA) เป็นช่องทางหลักในการเผยแพร่ข้อมูล รองรับการตอบคำถาม อธิบายข้อมูล และสร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้งาน สามารถเข้าถึงบริการได้ด้วยการสแกน QR Code หรือเพิ่มเพื่อนผ่าน Line OA สามารถใช้สร้างชุมชนออนไลน์ (Community) หรือประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสาร และประกาศต่างๆ (Broadcast) นอกจากนี้ ยังนำเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ AI Chatbot เข้ามาใช้งานร่วมกับแพลตฟอร์ม LINE Official Account (LINE OA) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการตอบคำถามและให้ข้อมูลเนื้อหาจากงานวิจัย พร้อมสามารถทำหน้าที่ตอบคำถามเชิงลึก อธิบายข้อมูลที่ซับซ้อน และให้คำแนะนำที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้งาน เช่น การวิเคราะห์ ภาพพืช ผลผลิต หรือปัญหาทางการเกษตร สามารถประมวลผลและแสดงผลการวิเคราะห์ที่แม่นยำและรวดเร็ว พร้อมแปลข้อมูลที่ได้ให้อยู่ในรูปแบบที่เข้าใจง่าย เช่น การบ่งชี้พันธุ์ของพืช อาการผิดปกติที่เกิดขึ้น หรือคำแนะนำเบื้องต้นที่เหมาะสมสำหรับการแก้ไขปัญหา ให้ได้รับคำตอบอย่างรวดเร็ว ทันต่อเหตุการณ์ ผ่านช่องทางการนำเสนอการเล่าเรื่อง ทุเรียน โดย Mascot น้องหนาม ส่วน มันสำปะหลัง เล่าเรื่องโดย Mascot น้องมันมัน ทั้งนี้ แพลตฟอร์ม LINE Official Account (LINE OA) และ AI Chatbot ของกรมวิชาการเกษตร เตรียมเปิดทดลองระบบการให้บริการ ตั้งแต่วันที่ 26 กุมภาพันธ์ 2568 เป็นต้นไป

เว็บข่าวออนไลน์เพื่อคุณ

ติดต่อโฆษณา

 K.Achira

064-039-6490

bangkoknewsnetwork@gmail.com

  • Instagram
  • Youtube
  • TikTok
  • Facebook

© 2035 by The Global Morning. Powered and secured by Wix

bottom of page